แจ้งมติคณะกรรมการเกี่ยวกับการออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิ

21 November 2007
ความสำคัญต่อ ความสำเร็จและผล การดำเนินงานของ บริษัท - เป็นผู้บริหารในการ 5.นางเบญจมาศ ผู้อำนวยการ 17 ปี 1 จันปุ่ม ฝ่ายบัญชีและ เดือน ควบคุมหน่วยงาน การเงิน บัญชีและการเงิน ของกลุ่มบริษัท เวิร์คพอยท์ - เป็นผู้ร่วมในการ กำหนดวิสัยทัศน์ และนโยบายในการ ดำเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทเวิร์ค พอยท์ - เป็นบุคลากรซึ่งมี ความสำคัญต่อ ความสำเร็จและผล การดำเนินงานของ บริษัท รายชื่อ ตำแหน่ง อายุงาน เหตุผล ความจำเป็น ณ 31 และประโยชน์ที่ ตุลาคม บริษัทฯจะได้รับ 2550 - เป็นผู้บริหารใน 6.นางวิชนี ศรีสวัสดิ์ ผู้อำนวยการ 13 ปี 7 ฝ่ายขาย เดือน การควบคุม หน่วยงานขาย โฆษณาให้กับ Content ต่างๆ ของกลุ่มบริษัท เวิร์คพอยท์ - เป็นผู้ร่วมในการ กำหนด วิสัยทัศน์และ นโยบายในการ ดำเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทเวิร์ค พอยท์ - เป็นบุคลากรซึ่ง มีความสำคัญ ต่อความสำเร็จ และผลการ ดำเนินงานของ บริษัท - เป็นผู้บริหาร 7.นายโสฬส ศรีรัตน์ ผู้อำนวยการ 17 ปี 11 ฝ่ายศิลปกรรม เดือน สูงสุดในการ สร้างสรรค์และ ควบคุมงาน ศิลปกรรมใน Content ของ กลุ่มบริษัทเวิร์ค พอยท์ เช่น รายการโทรทัศน์ ภาพยนตร์ ละครเวที คอนเสิร์ต ฯลฯ - เป็นผู้ร่วมใน การกำหนด วิสัยทัศน์และ นโยบายในการ ดำเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทเวิร์ค พอยท์ - เป็นบุคลากรซึ่ง มีความสำคัญ ต่อความสำเร็จ และผลการ ดำเนินงานของ บริษัท - เป็นผู้บริหารใน 8.นายรุ่งธรรม พุ่มสี ผู้อำนวยการ 12 ปี 8 นิล ฝ่ายผลิต 1 เดือน การสร้างสรรค์ และควบคุมการ ผลิตรายการ โทรทัศน์ต่างๆ ของกลุ่มบริษัท เวิร์คพอยท์ เช่น รายการแฟน พันธุ์แท้ รายการ ทศกัณฐ์เด็ก รายการทศกัณฐ์ ยกทัพ รายการ อัจฉริยะข้ามคืน ฯลฯ - เป็นผู้ร่วมในการ กำหนด วิสัยทัศน์และ นโยบายในการ ดำเนินธุรกิจของ กลุ่มบริษัทเวิร์ค พอยท์ - เป็นบุคลากรซึ่ง มีความสำคัญ ต่อความสำเร็จ และผลการ ดำเนินงานของ บริษัท รายชื่อ ตำแหน่ง อายุงาน เหตุผล ความ ณ 31 จำเป็น และ ตุลาคม ประโยชน์ที่บริษัทฯ 2550 จะได้รับ - เป็นผู้บริหาร 9.นายชยันต์ จัน ผู้อำนวยการ 6 ปี 9 ทวงศาทร ฝ่ายผลิต 2 เดือน ในการ สร้างสรรค์ และควบคุม การผลิต รายการ โทรทัศน์ต่างๆ ของกลุ่ม บริษัทเวิร์ค พอยท์ เช่น รายการชิงร้อย ชิงล้าน รายการคุณ พระช่วย ละครซิทคอม" รักต้องซ่อม" ฯลฯ - เป็นผู้ร่วมใน การกำหนด วิสัยทัศน์และ นโยบายใน การดำเนิน ธุรกิจของกลุ่ม บริษัทเวิร์ค พอยท์ - เป็นบุคลากร ซึ่งมี ความสำคัญ ต่อ ความสำเร็จ ผลประโยชน์ที่พนักงานดังกล่าวข้างต้นจะได้รับจากการเสนอขายใบสำคัญ แสดงสิทธิในครั้งนี้ไม่มีเนื่องจากราคาการใช้สิทธิเป็นราคาเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ ราคาตลาดของหุ้นของบริษัทที่ซื้อขายอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในระยะเวลา 10 วันทำการ ก่อนวันที่ออกและเสนอขาย ESOP warrants ในครั้งนี้ ประวัติการประชุมของกรรมการที่ได้รับการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิเกินกว่า ร้อยละ 5 ของจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกในครั้งนี้ ในระยะเวลา 1 มกราคม 2549 ถึง 31 ตุลาคม 2550 ซึ่งมีการประชุมกรรมการทั้งหมด 10 ครั้ง มีรายละเอียดดังนี้ รายชื่อ จำนวนครั้งที่มา จำนวนครั้งที่ขาด ประชุม ประชุม 1.นายพาณิชย์ สดสี 9 1 2.นายนุวัทฐ จั่นบำรุง 9 1 3.นายครรชิต ควะชาติ 10 - 4.นางสาวมาลี ปานพชร 9 1 5.นางเบญจมาศ จันปุ่ม 10 - คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจึงมีความเห็นชอบต่อการจัดสรรใบสำคัญ แสดงสิทธิให้แก่ผู้บริหารทั้ง 9 ท่านที่กล่าวมาข้างต้นนั้น เนื่องจากมีความจำเป็น และจะเป็นผลดีแก่บริษัท โดยบริษัทสามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อจูงใจให้ ผู้บริหารของบริษัทปฏิบัติหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นเพื่อประโยชน์ สูงสุดของบริษัท ซึ่งจะส่งผลให้ผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นสูงขึ้นด้วย คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนจะเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการบริษัท และที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติต่อไป ความเห็นของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีความเห็นให้อนุมัติการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่ กรรมการและพนักงานที่ได้รับการจัดสรรเกินกว่าร้อยละ 5 ของจำนวนใบสำคัญ แสดงสิทธิทั้งหมดที่เสนอขายในครั้งนี้ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็นของ คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนทุกประการ ลักษณะและเงื่อนไขของใบสำคัญแสดงสิทธิ 5. 5.1. ใบสำคัญแสดงสิทธิที่ออกและเสนอขายต่อกรรมการและ/หรือพนักงานจะอยู่ ภายใต้หลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 36/2544 เรื่อง การเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ต่อกรรมการหรือพนักงาน ฉบับลงวันที่ 19 ตุลาคม 2544 5.2. ผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิเป็นผู้รับผิดชอบค่าภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร หรือตามประมวลกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องในการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญตาม ใบสำคัญแสดงสิทธิ 5.3. ทั้งนี้เมื่อพ้นกำหนดวันใช้สิทธิครั้งสุดท้าย หากมีใบสำคัญแสดงสิทธิที่ยังไม่ได้ ใช้สิทธิให้ถือว่าใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าวหมดสภาพลง และไม่สามารถ นำมาใช้สิทธิได้อีกต่อไปไม่ว่ากรณีใด ๆ สิทธิของผู้ถือหุ้นในการคัดค้านการออกและจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิต่อ 6. กรรมการและ/หรือพนักงานตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 36/2544 ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2544 6.1. ตามข้อ 14 แห่งประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่ กจ. 36/2544 ลงวันที่ 19 ตุลาคม 2544 การออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิต่อกรรมการและ/หรือ พนักงานต้องได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสาม ในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงและ ต้องไม่มีผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นรวมกันเกินกว่าร้อยละสิบของจำนวนเสียงทั้งหมดของ ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมคัดค้านการออกและเสนอขายหุ้นสามัญตามโครงการ ESOP 6.2. ในกรณีที่จะเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิต่อกรรมการและ/หรือพนักงานรายใด เกินกว่าร้อยละห้าของจำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิทั้งหมดที่เสนอขายในครั้งนี้ ตามข้อ 15(2) แห่งประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. ดังกล่าวข้างต้น ที่ประชุมผู้ ถือหุ้นของบริษัทต้องมีมติอนุมัติการเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิดังกล่าว ให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานเป็นรายบุคคล โดยมีมติอนุมัติเป็นรายบุคคล และจะต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของจำนวนเสียงทั้งหมดของ ผู้ถือหุ้นที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียงและต้องไม่มีผู้ถือหุ้นซึ่งถือหุ้นรวมกัน เกินกว่าร้อยละห้าของจำนวนเสียงทั้งหมดของผู้ถือหุ้นที่มาประชุมคัดค้านมติ ดังกล่าว ความช่วยเหลือทางการเงินจากบริษัทในการจัดหาแหล่งเงินทุนแก่กรรมการ 7. และพนักงาน บริษัทไม่มีนโยบายในการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน อย่างไรก็ตาม บริษัท อาจจะอำนวยความสะดวกในการติดต่อสถาบันการเงินเพื่อวัตถุประสงค์การใช้สิทธิ แปลงสภาพของใบสำคัญแสดงสิทธิที่จัดสรรให้แก่กรรมการและ/หรือพนักงานของ บริษัท การดำเนินการของบริษัทหากมีหลักทรัพย์เหลือจากการจัดสรร 8. ในกรณีที่มีใบสำคัญแสดงสิทธิเหลือจากการจัดสรรให้กรรมการและพนักงาน ให้เป็นดุลยพินิจของคณะกรรมการของบริษัทเป็นผู้มีอำนาจพิจารณากำหนดการ จัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิที่เหลือให้กับพนักงานรายอื่นตามที่เห็นสมควร ภายใน ระยะเวลา 1 ปี นับแต่วันที่ได้รับอนุญาตจากสำนักงาน ก.ล.ต. ทั้งนี้ หากเป็นการจัดสรรใบสำคัญแสดงสิทธิให้แก่กรรมการหรือการจัดสรร ให้แก่พนักงานรายใดเป็นผลให้ได้รับการจัดสรรเกินร้อยละ 5 ของจำนวนใบสำคัญ แสดงสิทธิทั้งหมดที่ออกในครั้งนี้ บริษัทให้นำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณา อนุมัติก่อน ผลกระทบที่มีต่อผู้ถือหุ้น 9. 9.1. ผลกระทบต่อราคาของหุ้น (Price Dilution) เนื่องจากราคาใช้สิทธิของใบสำคัญแสดงสิทธิ คือ ราคาเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ ราคาหุ้นของบริษัท ที่มีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในช่วง ระยะเวลา 10 วันทำการก่อนวันที่ออกและเสนอขาย ESOP warrants ซึ่งราคา ดังกล่าวใกล้เคียงกับราคาตลาด ดังนั้น การออกและเสนอขายใบสำคัญแสดง สิทธิในครั้งนี้จึงไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อราคาตลาดของหุ้นของบริษัท อย่างไรก็ตาม ผลกระทบต่อราคาตลาดของหุ้น เมื่อมีการใช้สิทธิซื้อหุ้นของ กรรมการและพนักงานของบริษัท และ/หรือบริษัทย่อย จะขึ้นอยู่กับราคาตลาด ของหุ้นของบริษัท ณ วันที่หุ้นเพิ่มทุนที่เกิดจากการใช้สิทธิดังกล่าวเข้าทำการซื้อ ขายในตลาดหลักทรัพย์ 9.2. ผลกระทบต่อส่วนแบ่งกำไรหรือสิทธิออกเสียงของผู้ถือหุ้นเดิม (Control Dilution) การใช้สิทธิตามใบสำคัญแสดงสิทธิ จำนวน 10, 800,000 หน่วย จะทำให้ส่วน แบ่งกำไร หรือสิทธิในการออกเสียงของผู้ถือหุ้นเดิมจะลดลงในอัตราร้อยละ 5.12 ของส่วนแบ่งกำไรหรือสิทธิในการออกเสียงเดิม หรือคิดเป็นร้อยละ 5.12 ของจำนวนหุ้นที่จำหน่ายได้ในปัจจุบัน เงื่อนไขอื่น ๆ 10. ให้คณะกรรมการบริษัทดำเนินการให้มีการขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น และ ขออนุญาตต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนให้มีอำนาจในการกำหนด และ/หรือ แก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและรายละเอียดต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการออกและ เสนอขายและการดำเนินการใดๆที่เกี่ยวข้องภายใต้ข้อกฎหมายและประกาศ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง โดยจะกำหนดวันออกและเสนอขายใบสำคัญแสดงสิทธิในครั้ง นี้ ภายหลังจากที่ได้รับอนุญาตจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ เงื่อนไขการปรับสิทธิ 11. การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิซื้อหุ้นสามัญ (Exercise Price) และอัตราการ ใช้สิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ (Exercise Ratio) ของใบสำคัญแสดงสิทธิมีรายละเอียด ดังนี้ บริษัทจะดำเนินการปรับราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิตลอดอายุของ ใบสำคัญแสดงสิทธิเมื่อเกิดเหตุการณ์ดังต่อไปนี้ ทั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรักษา ผลประโยชน์ตอบแทนของผู้ถือใบสำคัญแสดงสิทธิไม่ให้ด้อยไปกว่าเดิม 11.1. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัท อันเนื่องมาจาก การรวม หรือการแบ่งแยกหุ้นสามัญที่ได้ออกแล้วของบริษัท ซึ่งการเปลี่ยน ราคาใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิ จะมีผลบังคับทันทีตั้งแต่วันที่ ได้มีการจด ทะเบียนเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญของบริษัท ต่อกระทรวง พาณิชย์ (ก) ราคาการใช้สิทธิจะเปลี่ยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้ Price 1 = Price 0 x [Par 1] [Par 0] (ข) อัตราการใช้สิทธิจะเปลี่ยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้ Ratio 1 = Ratio 0 x [Par 0] [Par 1] โดยที่ Price 1 คือ ราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง Price 0 คือ ราคาการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลี่ยนแปลง Ratio 1 คือ อั ต ร ก ร ใ ช้ สิ ท ธิ ใ ห ม่ ห ลั ง ก ร เปลี่ยนแปลง Ratio 0 คือ อัตราการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลี่ยนแปลง Par 1 คือ มูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นสามัญหลังการเปลี่ยนแปลง Par 0 คือ มู ล ค่ ที่ ต ร ไ ว้ ข อ ง หุ้ น ส มั ญ ก่ อ น ก ร เปลี่ยนแปลง 11.2. เมื่อบริษัทเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ให้กับผู้ถือหุ้นเดิมและ/หรือบุคคลใดๆ โดยราคาสุทธิต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ต่ำกว่า "ราคาตลาดของหุ้น สามัญของบริษัท" หรือ ในกรณีที่ไม่มีราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท คณะกรรมการบริษัทจะทำการกำหนดราคาที่ยุติธรรมเพื่อใช้ในการคำนวณ การปรับสิทธิ การเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สิทธิและอัตราการใช้สิทธิจะมีผลบังคับ ทั น ที ตั้ ง แต่ วั น แรกที่ ผู้ ซื้ อหุ้ น สามั ญ จะไม่ ไ ด้ รั บ สิ ท ธิใ นการจองซื้ อ หุ้ น สามัญ (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ขึ้นเครื่องหมาย XR) สำหรับกรณีที่ เป็นการเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม (Right Offering) หรือ วันแรกของ การเสนอขายหุ้นสามัญแก่ประชาชนทั่วไปสำหรับกรณีที่เป็นการเสนอ ขายหุ้นสามัญให้แก่ประชาชนทั่วไป (Public Offering) หรือ วันแรกที่ผู้ ลงทุ น โดยเฉพาะเจาะจงหรื อ ผู้ล งทุ น ประเภทสถาบั น ชำ ระราคาหุ้ น สามัญแก่บริษัท สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ ให้แก่ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงหรือผู้ลงทุนประเภทสถาบัน (Private Placement) ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ หรือ ประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์หรือประกาศของสำนักงาน ก.ล.ต. ที่เกี่ยวข้อง (แล้วแต่ กรณี) "ราคาสุทธิต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่" คำนวณได้จากจำนวน เงินทั้งสิ้นที่บริษัทจะได้รับจากการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่หักด้วย ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจาก การออกหุ้นสามัญที่ออกใหม่นั้น หารด้วยจำนวน หุ้นสามัญที่ออกใหม่ทั้งสิ้น อนึ่ง ในกรณีที่เมื่อมีการเสนอขายหุ้นที่ออกใหม่พร้อมกันมากกว่า 1 ราคาการเสนอขาย ในเงื่อนไขที่จะต้องจองซื้อด้วยกัน ให้นำราคาและ จำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่ทั้งหมดมาคำนวณราคาสุทธิต่อหุ้นของหุ้น สามัญที่ออกใหม่ แต่ในกรณีที่การเสนอขายพร้อมกันดังกล่าวไม่อยู่ ภายในเงื่อนไขที่จะต้องจองซื้อด้วยกันให้นำจำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่ และราคาเสนอขายที่ต่ำกว่า "ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท" มาคำนวณการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น "ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท" ได้กำหนดไว้เท่ากับราคาเฉลี่ย ถ่ ว งนํ้ หนั ก ของหุ้ น สามั ญ ในตลาด-หลั ก ทรั พ ย์ ฯ ที่ มี ก รซื้ อ ขายบน กระดานหลั ก 10 วั น ทำ การซื้ อ ขายล่ สุ ด ก่ อ นวั น ที่ ใ ช้ ในการคำ นวณ "ราคาเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก" เท่ากับมูลค่าการซื้อขายหุ้นทั้งหมดของ บริษัท ในแต่ละวัน หารด้วยจำนวนหุ้นของบริษัท ที่มีการซื้อขายทั้งหมด ในแต่ละวัน "วันที่ใช้ในการคำนวณ" หมายถึง วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญจะไม่ได้รับ สิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่ สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขาย ให้กับผู้ถือหุ้นเดิม (Right Offering) (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ขึ้น เครื่องหมาย XR) หรือ วันแรกของการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่แก่ ประชาชนทั่วไปสำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่แก่ ประชาชนทั่ ว ไป (Public Offering) หรื อ วั น แรกที่ ผู้ ล งทุ น โดย เฉพาะเจาะจงหรื อ ผู้ ล งทุ น ประเภทสถาบั น ชำ ระราคาหุ้ น สามั ญ แก่ บริษัท สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ลงทุน โดยเฉพาะเจาะจงหรือผู้ลงทุนประเภทสถาบัน (Private Placement) (แล้วแต่กรณี) (ก) ราคาการใช้สิทธิจะเปลี่ยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้ Price 1 = Price 0 x [(A x MP) + BX] [MP (A + B)] (ข) อัตราการใช้สิทธิจะเปลี่ยนแปลงตามสูตรการคำนวณดังนี้ Ratio 1 = Ratio 0 x [MP(A + B)] [(A x MP) + BX] โดยที่ Price 1 คือ ราคาการใช้สิทธิใหม่หลังการเปลี่ยนแปลง Price 0 คือ ราคาการใช้สิทธิเดิมก่อนการเปลี่ยนแปลง Ratio 1 คือ อั ต ร ก ร ใ ช้ สิ ท ธิ ใ ห ม่ ห ลั ง ก ร เปลี่ยนแปลง Ratio 0 คือ อั ต ร ก ร ใ ช้ สิ ท ธิ เ ดิ ม ก่ อ น ก ร เปลี่ยนแปลง MP คือ ราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท A คือ จำนวนหุ้นสามัญที่ได้เรียกชำระเต็มมูลค่าแล้ว ณ วันก่อนวันปิดสมุดทะเบียนผู้ถือหุ้นเพื่อการจอง ซื้อหุ้นสามัญที่ออกใหม่ และ/หรือ วันแรกของการ เสนอขายหุ้นสามัญที่ออกใหม่แก่ประชาชนทั่วไป แ ล / ห รื อ เ ส น อ ข ย ใ ห้ แ ก่ ผู้ ล ง ทุ น โ ด ย เฉพาะเจาะจงหรือผู้ลงทุนสถาบัน B คือ จำนวนหุ้นสามัญที่ออกใหม่จากการเสนอขายแก่ ผู้ ถื อ หุ้ น เดิ ม และ/หรื อ เสนอขายต่ อ ประชาชน ทั่ ว ไป และ/หรื อ เสนอขายให้ แ ก่ ผู้ ล งทุ น โดย เฉพาะเจาะจงหรือผู้ลงทุนประเภทสถาบัน BX คือ จำนวนเงิน ที่จะได้รับ ทั้งสิ้ นหลัง หัก ค่าใช้จ่ายที่ เกิ ดขึ้นจากการออกหุ้ นสามั ญที่ ออกใหม่ นั้ น ทั้ ง การเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือ เสนอ ขายต่อประชาชนทั่วไป และ/หรือเสนอขายให้แก่ ผู้ ล งทุ น โดยเฉพาะเจาะจงหรื อผู้ ล งทุ น ประเภท สถาบัน 11.3. เมื่อบริษัท เสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ใดๆ ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือ บุคคลใด ๆ โดยที่หลักทรัพย์นั้นมีสิทธิที่จะแปลงสภาพ/เปลี่ยนเป็นหุ้นสามัญ ได้หรือให้สิทธิในการจองซื้อหุ้นสามัญ (เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือ ใบสำคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ) โดยที่ราคาสุทธิต่อหุ้นของหุ้นสามัญที่ออกใหม่ เพื่อรองรับการใช้ สิทธิดังกล่าวต่ำกว่า "ราคาตลาดของหุ้นสามัญของ บริษัท" หรือในกรณีที่ไม่มีราคาตลาดของหุ้นสามัญของบริษัท คณะกรรมการ บริษัท จะทำการกำหนดราคาที่ยุติธรรมเพื่อใช้ในการคำนวณการปรับสิทธิ การเปลี่ยนราคาการใช้สิทธิ และอัตราการใช้สิทธิจะมีผลบังคับทันที ตั้งแต่วันแรกที่ผู้ซื้อหุ้นสามัญจะไม่ได้รับสิทธิในการจองซื้อหลักทรัพย์ ออกใหม่ใด ๆ ข้างต้น (วันแรกที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ขึ้นเครื่องหมาย XR) สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม (Right Offering) หรือ วันแรกของการเสนอขายหลักทรัพย์ฯ ที่ออกใหม่ใด ๆ ที่ให้สิทธิแปลง สภาพ/เปลี่ ย นเป็ น หุ้ น สามั ญ ได้ ห รื อ ให้ สิ ท ธิ ใ นการจองซื้ อ หุ้ น สามั ญ สำหรับกรณีที่เป็นการเสนอขายหลักทรัพย์ที่ออกใหม่ให้แก่ประชาชน ทั่วไป (Public Offering) หรือวันแรกที่ผู้ลงทุนโดยเฉพาะเจาะจงหรือผู้ ลงทุนประเภทสถาบัน ชำระราคาหลักทรัพย์ที่มีสิทธิที่จะแปลงสภาพ/ (ยังมีต่อ)